ประเภทของละครไทย
ละคร หมายถึง การแสดงประเภทหนึ่งซึ่งแสดงเรื่องราวความเป็นไปของชีวิตที่ปรากฏในวรรณกรรมมีศิลปะการ
แสดงและดนตรีเป็นสื่อสำคัญ
ละคร ตามความหมายนี้หมายถึงละครรำ เพราะว่าเป็นการแสดงออกทางความคิดโดยมุ่งเน้นถึงลักษณะท่าทางอิริยาบถในขณะเคลื่อนไหวตัวในระหว่างการรำ
ละครไทยสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. ละครรำ คือละครที่ใช้ศิลปะการร่ายรำในการดำเนินเรื่อง แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1.1 ละครรำแบบมาตรฐานดั้งเดิม มี 3 ชนิด คือ
- ละครชาตรี
- ละครนอก
- ละครใน
1.2 ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มี 3 ชนิด คือ
- ละครดึกดำบรรพ์
- ละครพันทาง
- ละครเสภา
2. ละครร้อง คือละครที่ใช้ศิลปะการร้องดำเนินเรื่อง เป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ละครร้องล้วน ๆ
2.2 ละครร้องสลับพูด
3. ละครพูด คือละครที่ใช้ศิลปะการพูดในการดำเนินเรื่อง เป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
3.1 ละครพูดล้วน ๆ
3.2 ละครพูดสลับรำ
4. ละครสังคีต เป็นละครที่ใช้ศิลปะการพูดและการร้องดำเนินเรื่องเสมอกัน
นอกจากนั้นยังมีการแสดงที่เกิดขึ้นใหม่ในสมัย รัชกาลที่ 5 อีก 2 อย่างคือ ลิเก และหุ่น ( หุ่นเล็ก , หุ่นกระบอก , หุ่นละครเล็ก)
https://www.youtube.com/watch?v=N8lclbqL1Lo ละครดึกดำบรรพ์
https://www.youtube.com/watch?v=g7IargeEmTY ละครพันทาง
นายศิริวัฒน์ แสวงสุข เลขที่9
ตอบลบน.ส.วชิรกาญจน์ โสดาภักดิ์ เลขที่20
ตอบลบน.ส.มลธิกาญ แพงจ่าย ม.4/2 เลขที่19
ตอบลบนางสาวจิระนันท์ ทองหลอด เลขที่14 ห้อง 4/2
ตอบลบนางสาววรฤทัย นามแสน เลขที่21 4/2
ตอบลบนางสาวขวัญจิรา สายวรรณ์ เลขที่14
ตอบลบนาย ลลิต แสนวงค์ เลขที่7 ห้อง4/2
ตอบลบนางสาวนันทินี สอนพงษ์ เลขที่16 ม.4/2
ตอบลบน.ส.ภัทราพร ชาญประไพร เลขที่18 ม.4/2
ตอบลบนาย ศุภโชค กัญญมาสา เลขที่10
ตอบลบ